Cloud Computing คืออะไร

162

Cloud Computing คืออะไร

ทุกคนน่าจะคุ้นเคยกับ Cloud Computing กันอยู่แล้ว โดย Azure ก็เป็น Cloud Service ของ Microsoft เหมือนกับหลายๆค่าย อย่าง AWS, GCP ที่ใช้บริการอยู่ในปัจจุบัน ในส่วนของ Azure จะมีลักษณะเฉพาะหรือ Service เฉพาะที่ให้ความกับลูกค้าที่มาใช้บริการ คือพยายามที่จะให้มีฟีเจอร์ที่แทบจะไม่ต้อง Config อะไรมากมายโดยจะทำให้ Eazy มากที่สุด

Cloud model
โดยทุกคนอาจจะคุ้นเคยกันอยู่แล้ว ที่เคยใช้ตั้งแต่ Virtualization ใน Data Center แล้วก็ Cloud Data Center บน Internet

Cloud Computing ในปัจจุบันก็จะเป็นเทรนแนวโน้มในปัจจุบันที่มีการใช้งานมากขึ้นเรื่อยๆ ปกติเราจะมี Data Center on-premise ซึ่งเราจะต้อง Manage จัดการเองแล้วก็จะมีองค์ประกอบเยอะแยะ Component เยอะแยะมากมาย จนกว่าจะมาเป็น Service ที่ให้บริการ ในส่วนใหญ่ของ Data Center เราจะมองในระดับ Physical ตั้งแต่ห้อง Server ไปจนถึง Server เลย มีStorage มี Disk, Network มีต่างๆ พวกนั้นคือเราต้องซื้อทั้งหมด ซื้ออุปกรณ์ทั้งหมด เพื่อที่จะสร้างให้มีการเชื่อมต่อกัน แล้วถึงจะ Deploy พวก Application ลงไป จากนี้ มีแค่ Application ไม่พอหลังจากนั้นก็จะเกิด สิ่งที่ Require เพื่อเติมคือเรื่องของ Scalability ก็คือมันใช้งานไม่พอ การ Scale คือการขยับขยายเพื่อรองรับปริมาณการใช้งานที่มากขึ้นหรือ ว่าต้องการขยับขยายเพื่อป้องกัน Downtime อันนั้นจะไม่ใช้ scale แล้วเป็น Availability ซึ่งมันก็กลับมาเรื่องของการซื้อ Physical เพิ่มเติมเพราะว่าจากเดิมมีเครื่องนึงมันไม่พอ มันช้าแล้ว Response ช้าก็ต้องซื้อเครื่องเพิ่ม ก็ต้องมามีค่าใช้จ่าย เพราะงั้นเรื่องของ Cloud Computing เนี้ยก็คือการลดภาระเรื่องของการ Maintenant การจัดซื้อ การลงทุน ในส่วนของ Infrastructure เบื้องต้น ก็เหมือนไปเช่า ไปเช่า Data Center ไปเช่า Server , Network, Storage ด้วยวิธีการเช่าทั้งหมดเลย ไม่มีอะไรเป็นของเรา ก็ถ้าอยากจะใช้ก็เช่าเพิ่ม อยากจะยกเลิกก็ยกเลิกได้ เรียกว่า Per use ใช้เท่าไหร่จ่ายเท่านั้น ยกเลิกได้ตลอดเวลา คล้ายเหมือนดู Netfix ซึ่ง Cloud ก็จะมีเรื่องของ Per use ด้วย ไม่ใช่แค่รายเดือนอย่างเดียว ซึ่งถ้าดูแล้วในเรื่องของ Butget หรือการตั้งงบประมาณมันจะดูถูกกว่าค่าใช้จ่ายในการลงทุนมี Data Center เป็นของตัวเอง เหตุผลก็เพราะว่ามองที่ Hardware ก่อนเพราะ HW ใน Data Center ทั้งหมดมันมีอายุการใช้งานคือไม่สามารถใช้งานได้ตลอดไป 5-7 ปีก็ต้องมีการเปลี่ยนแล้วก็มีค่าใช้จ่ายซึ่งเมื่อมีค่าใช้จ่ายก็จะมีก้อนมหาสาร (ก้อนใหญ่) นี่ยังไม่รวมถึง Network ที่จะถึงรอบ Cicle ในการเปลี่ยนใช้ระหว่างปี ไม่พอต้องซื้อเพิ่ม มีการ scale เช่น HDD ไม่พอต้องซื้อเพิ่ม ต้องการ Loadbalancer ต้องซื้อเพิ่ม ต้องการ HA ต้องซื้อเพิ่ม ก็จะมี cost ระหว่าปีเรื่อยๆ ในปีถัดๆไป เพราะฉะนั้นตัว Cloud computing ก็จะตัดปัจจัยเรื่องพวกนี้ อันนี้แค่ Physical ยังไม่รวมเรื่องของ Software อีก ในตัว HW จะเกิน MS ไม่ Support ก็จะทำให้มีความเสียงเกิดขึ้น รวมถึงฟีเจอร์ใหม่ๆก็จะไม่มีด้วย ตามเทคโนโลยีปัจจุบันก็จะไม่รองรับ ก็จะทำให้คุณ Out จาก Tech

คร่าวนี้พอมีระบบ Cloud หรือ Cloud Proviceder มาให้บริการมันก็เป็น Chanlence ทุกองค์ต้องการย้ายจาก on-premise ไปไว้โดย Cloud โดย Channlend ก็คือถ้าย้ายมันไปจะเหมือนเดิมไหม? ส่วนมากเวลาย้ายพวกนี้จะมี impact จะมีมาก มีน้อย ไม่มีแบบไม่มีเลย ซึ่งต้องมีการวางแผน ความคุ้มค่าถ้าเราจะย้ายไป Cloud ก็ต้องมีปัจจัยความคุ้มค่าในการที่จะย้ายไป ถ้ามันไม่คุ้มค่าก็ควรจะอยู่ที่เดิม ซึ่งการที่เราจะไปเนี่ย ต้องมีวิธีการคำนวณ วิธีการให้น้ำหนัก ไม่ใช่เห็นว่าแนวโน้มทุกองค์กรไป Cloud กันหมดเลย เราจะไปบ้าง ก็ไม่ได้ผิดอะไร การตัดสินใจว่าจะไปหรือไม่ไปเนี่ยมันคือเชิง Business ไม่ใช่เชิง technical เพราะว่าถ้า on-premise มีการ Support อยู่ มี Software มีเทคโนโลยีใหม่อยู่ ซื้อมาแล้วก็ใช้บน on-prime ไปก็ได้

ในเรื่องของค่าใช้จ่ายก็จะมีอยู่ 2 แบบ ในการตั้ง Budget

เทรนในทุกวันนี้ต้องการไป cloud เพื่อลดภาระ เรื่องของการดูแล support ทั้ง hardware และ software ก็คือเป็นการผลักไปที่ Cloud Provider มันก็จะทำให้เราลดเรื่องจ่ายใช้จ่ายในหลายๆส่วนได้ อย่างเช่น ปกติก็จะต้องมีการตั้งเรื่องของการซื้แประกัน MA หรือต้องมีพนักงานในการดูแลรักษา Hardware / Network / Storge หรือ Application service ในส่วนของเรื่อง licence ก็ไม่ต้องปวดหัวเพราะบน cloud มีของใหม่ตลอดเวลา เครื่องมีที่จะใช้ใน Cloud เป็นเครื่องมีที่มันสมัย มีคนพัฒนาให้ ไม่ต้องพัฒนาเอง

Public Cloud ก็จะเป็น Cloud บน Internet เราไม่ได้เป็นเข้าของ Infrastructure physical ต่างๆ ใดๆเลย อยู่บน internet ตัวอย่างผู้่ให้บริการก็มีหลายค่าย AWS, Azure ของไทยก็มี การที่ใช้ Public Cloud ก็ คือเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ User ที่ใช้งานต้องออก Internet ได้ ก็คือทุกอย่างที่เป็น Service ไม่ว่าจะเป็น VM, application, software ก็จะอยู่บน internet ทั้งหมดเลย

Private Cloud อันนี้น่าจะคุ้นเคย ถ้า Data Center เราที่ใช้ Virtualization ก็คือเรามีฟาม VM เยอะๆ แล้วก็ application รวมถึงให้บริการบริษัทในเครือก็ถือเป็น privete Cloid เป็นการให้บริการภถายในองค์กร อันนี้ส่วนใหญ่จะมีอยู่แล้ว

Hybrid Cloud ก็คือเรามี Private Cloud อยู่แลั้ว data center ที่รัน virtualization แล้วก็เริ่มที่อยากจะขยับไปใช้ public ในอีก location นึงแล้วก็มี network เชื่อมถึงกัน เวลา data มีการ tranfer ก็จะอยู่ใน env เดียวกันหมด การทำให้ hybrid cloud ข้อดีคือ transfer data เชื่อมโยงกันของcloud provider ระกว่าง private กับ public อีกส่วนก็คือเราจะย้าย application หรือ service จาก on prim ไปที่ public ก็จะทำได้

อีกหนึ่งส่วนที่เริ่มมีสถานการณ์การใช้งานเริ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ก็คือ
Multi Cloud เป็นการที่ผู้ใช้บริการ ใช้งาน Public Cloud จาก Cloud Provider หลากหลายเจ้าที่ให้บริการ เพื่อต้องการคุณสมบัติเพิ่มเติมเพื่อมาตอบโจทย์การให้บริการ โดยคำนึงจาก Service ที่ผู้ให้บริการแต่ละเจ้ามี

ข้อดีข้อเสีย

Publuc Cloud ข้อดี ไม่มี capex ไมมีค่าใช้จ่ายในการลงทุน ไม่ต้องเสียเงินลงทุน infra hw/nw/stoge สามารถ deploy ได้เร็ว ใช้เท่าไหน่จ่ายเท่านั้น

Private Cloud ข้อดี คือ hardware และ software เราไปจัดการเอง จากจะทำอะไรก็ได้ ยังไงก็ได้ ข้อเสียคือตจ้องซื้อ มีค่ารักษา ต้องคอยระวังภัยคุกคาม เรื่องของ performant มีอะัไรใหม่ๆต้องคอยตามและปิด patch

Hybrid Cloud ก็คือเอาทั้ง 2 อย่างมากผสมกัน มีคาวมยืนหยุ่น ต้องมีการตัดสินใจ

สิ่งที่ Cloud ให้ประโยชน์

High availability (HA) ก็คือเป็น 1 ใน SLA เลย azure จะมี sla ให้เลยว่าคุณเอาข้อมูลไปวางเวลาเกิด data center ล่ม ก็จะสามารถ replocate ก็จะสามารถ replicate ไปไว้อีก region นึงซึ่งขึ้นอยู่กับ suppscrtion ด้วยว่าจะให้มี copy ไปที่ไหนบ้างตามที่คุณเลือก

Scalability
ความสามารถในการรองรับการใช้งาน ขยายขาดการใช้งาน อีกหนึ่งประโยชน์ของ Cloud computing ก็จะรองรับการขยาย resource ความต้องการของผู้ใช้ รองรับการทำ
– Vertical scaling (scale up) => เป็นการขยายเพิ่ม resource (เช่น CPU, RAM, Disk)
– Horizontal scaling (scale out) => เป็นการเพิ่มเครื่อง Server จากเดิมเพื่อรองรับการใช้งาน ซึ่งอาจจะต้องมีการใช้ Load balancer เข้ามาช่วยในการใช้งานเพิ่มเติม

เมื่อเปรียบเทียบโครงสร้างพื้นฐานของ IT ซึ่งจะมีค่าใช้จ่าย 2 ประเภทในการพิจาร
– Capital expenditure (CapEx)
– Operational expenditure (OpEx)

Capital expenditure (CapEx)
ค่าใช้จ่ายในการลงทุน คือ เป็นการลงทุนครั้งเดียว การใช้จ่ายล่วงหน้าในการซื้อ หรือว่าเป็นการซื้อ Hardware เช่น Core Switch, Server หรือการสร้างอาคาร สร้างห้อง Datacenter เป็นต้น ซึ่งในรูปแบบของ CapEx หากมองภาพในหน่วยงานก็จะเป็นเหมือนการที่ไปตั้งงบของบประมาณในการซื้อ ซึ่งอาจจะทำให้ถูกตัด หรือไม่ถูกจัดสรรงบได้ เนื่องจากเป็นค่าใช้จ่ายที่สูง

Operational expenditure (OpEx)
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน คือ เป็นค่าใช้จ่ายที่มีการใช้งานไปแล้ว เป็นการเช่าใช้งาน เช่นการเช่าใช้งาน Cloud Computing, การเช่าใช้งาน Software ซึ่งจะเป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่ตัดงบประมาณไม่ได้ เป็นค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายทุกปี หรือเมื่อไม่จ่ายจะเกิดปัญหา ความเสี่ยงขึ้น